9 กรกฎาคม 2552

สัปดาห์ที่ 10
อธิบาย source program

9 กรกฎาคม 2552

สัปดาห์ที่ 9



การพัฒนาการเพื่อให้นักเรียนนักศึกษาที่เรียนกับครูจันทร์เพ็ญ เป็นผู้มี:
1) IQ (Intelligence Quotient ) การพัฒนาให้ผู้เรียน ทักษะกรบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดขึ้น ใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง
2) EQ (Emotion Quatient) การพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองและมีความมั่นคงทางอารมณ์
3)TQ (Technology Quotient) การพัฒนาความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีและรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆให้เหมาะสมกับความต้องการ
4) AQ (Adversity Quotient) การพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อนและการเผชิญสภาพปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและทำงานภายใต้สภาวะความกดดันได้
5) MQ(Morality Quotient) ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้ผู้เรียนมีจิตใจงดงาม รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและอยู่ในสังคม ความรู้ (Knowledge -based sociaty ) ได้เป็นอย่างดี

2 กรกฎาคม 2552

สัปดาห์ที่ 8
-สอบผังงาน

25 มิถุนายน 2552

สัปดาห์ที่ 7
อาจารย์สอนการใช้โปรแกรมเขียนภาษาซี และให้นักเรียน
ไปเขียนโปรแกรม แสดงชื่อ โปรแกรมแสดงรูปบ้าน
และให้เขียนชื่อตัวเองเป็นรหัสแอสกี

ASCIIกมลธรรม งามเชย101000011100000111000101101110001100001111000011110000010000000000000000101001111101001011000001111000001010101011000010Kamoltham Ngamcheiy0100101101100001011011010110111101101100011101000110100001100001011011010000000000000000010011100110011101100001011011010110001101101000011001010110100101111001

Home
#include #include main (){clrscr();printf(" 2 2 \n");printf(" 222 222 \n");printf(" 2222233333333333333333333333333333322222 \n");printf(" 222222233333333333333333333333333332222222 \n");printf(" 22 2 223333333333333333333333333322 2 22 \n");printf(" 2222222222233333333333333333333333322222222222 \n");printf(" 2222 2 222233333333333333333333332222 2 2222 \n");printf(" 22222222222222233333333333333333333222222222222222 \n");printf(" 44555555555554444444444444444444444445555555555544 \n");printf(" 44555555555554444444444444444444444445555555555544 \n");printf(" 44555555555554444 4 444444 4 44445555555555544 \n");printf(" 44555555555554444444444444444444444445555555555544 \n");printf(" 44555555555554444 4 444444 4 44445555555555544 \n");printf(" 44555555555554444444444444444444444445555555555544 \n");printf(" 44555555555554444444444444444444444445555555555544 \n");printf(" 44555 555444444444444444444444444555 55544 \n");printf(" 44555 5554444 4 444444 4 4444555 55544 \n");printf(" 44555 555444444444444444444444444555 55544 \n");printf(" 44555 0 5554444 4 444444 4 4444555 0 55544 \n");printf(" 44555 555444444444444444444444444555 55544 \n");printf(" 44555 555444444444444444444444444555 55544 \n");getch();return 0;}

name
#include #include main (){clrscr();printf(" -------------------------\n");printf("My Name Is Kamoltham Ngamcheiy\n");printf("No : 8\n");printf(" -------------------------\n");getch();return 0;}

18 มิถุนายน 2552

สัปดาห์ที่ 6
อาจารย์สอนบทที่ 2 แล้วให้นักเรียนเขียนผังโปรแกรม (flowchart)
ท้ายชั่วโมง สั่งให้ไปทำ flowchart เกี่ยวกับชีวิตตัวเอง ลงในบล็อก

11 มิถุนายน 2552

สัปดาห์ที่ 5
ไม่ได้เรียน มีกิจกรรมไหว้ครู

4 มิถุนายน 2552

สัปดาห์ที่ 4
ให้หาประวัติภาษาC
ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย
source program ประวัติตัวเอง

ความเป็นมาของภาษาซี
ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1972 โดย Dennis Ritchie แห่ง Bell Labs โดยภาษาซีนั้นพัฒนามาจาก ภาษา B และจากภาษา BCPL ซึ่งในช่วงแรกนั้นภาษาซีถูกออกแบบให้ใช้เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมในระบบ UNIX และเริ่มมีคนสนใจมากขึ้นในปี ค.ศ.1978 เมื่อ Brain Kernighan ร่วมกับ Dennis Ritchie พัฒนามาตรฐานของภาษาซีขึ้นมา คือ K&R (Kernighan & Ritchie) และทั้งสองยังได้แต่งหนังสือชื่อว่า "The C Programming Language" โดยภาษาซีนั้นสามารถจะปรับใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆได้ ต่อมาในช่วง ปี ค.ศ.1988 Ritchie และ Kernighan ได้ร่วมกับ ANSI (American National Standards Institute) สร้างเป็นมาตรฐานของภาษาซีขึ้นมาใหม่มีชื่อว่า "ANSI C"ภาษาซีนั้นจัดเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่นิยมใช้งาน ซึ่งภาษาซีจัดเป็นภาษาระดับกลาง (Middle-Level Language) เหมาะกับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming) โดยมีคุณสมบัติโดดเด่นอย่างหนึ่งคือ มีความยืดหยุ่นมาก กล่าวคือ สามารถทำงานกับเครื่องมือต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนการเขียนโปรแกรมในรูปแบบต่างๆได้ เช่น สามารถเขียนโปรแกรมที่มีความยาวหลายบรรทัดให้เหลือความยาว 2-3 บรรทัดได้ โดยมีการผลการทำงานที่เหมือนเดิมครับ
credit : http://concord.exteen.com/20080424/entry

จุดเด่น & จุดด้อย
ภาษา C มีจุดเด่น คือ สั้น กะทัดรัด ภาษา C มีรูปแบบย่อทำให้เขียนสั้นลงอยู่มาก ซึ่งข้อดีก็คือ สั้นดีครับ แต่ข้อเสีย ก็คือ ซับซ้อน อ่านยาก เวลาอ่านก็เหมือนกับการแก้สมการ คุณอาจจะบอกว่า คุณเลือกที่จะเขียนแบบไม่ซับซ้อนก็ได้ แต่พูดยากครับ คุณไม่เขียน แต่คนอื่นเขาเขียนครับ ถ้าคุณไม่เรียนรู้เสียเลย คุณก็อ่าน Code คนอื่นไม่รู้เรื่อง และการใช้ วงเล็บปีกกา ซึ่งดูคล้ายกับวงเล็บธรรมดา เวลาเขียนโปรแกรมก็สับสนพอสมควร จุดอ่อนอีกจุดหนึ่งที่สำคัญของภาษา C ก็คือ ภาษา C มองทุกอย่างเป็น Case Sensitive ทำให้เขียนโปรแกรมแล้วหลงเรื่อง Case เป็นประจำ
credit : http://pi.eng.src.ku.ac.th/mod/forum/discuss.php?d=771

Source Program (แสดงข้อความประวัติส่วนตัว)
#include
#include
void main()
{
clrscr();
printf("Name : Kamoltham Ngamcheiy\n");
printf("Brithday : November 26, 1990\n");
printf("Age : 18\n");
printf("Weight : 60 kg\n");
printf("Hight : 180 cm\n");
printf("Address : 767/18 T.Maeklong A.Muang, Samutsongkram 75000\n");
getch();
}